เขตสัมพันธวงศ์ เป็นเขตที่เล็กที่สุดของกรุงเทพมหานคร สำนักบริหารแรงงานต่างด้าวเขตสัมพันธวงศ์,คนต่างด้าวเขตสัมพันธวงศ์,รับขึ้นทะเบียนใหม่แรงงานต่างด้าวเขตสัมพันธวงศ์,ขึ้นทะเบียนต่างด้าวเขตสัมพันธวงศ์,กิจการเกี่ยวกับแรงงานต่างด้าวเขตสัมพันธวงศ์,คนต่างด้าวที่ประกอบธุรกิจเขตสัมพันธวงศ์,ใบอนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวเขตสัมพันธวงศ์,รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวเขตสัมพันธวงศ์,ธุรกิจของคนต่างด้าวเขตสัมพันธวงศ์,ประสานงานหน่วยงานเอกชนเขตสัมพันธวงศ์,เอกสารคนต่างด้าวเขตสัมพันธวงศ์,จัดทำเอกสารคนต่างด้าวเขตสัมพันธวงศ์,การลงทุนคนต่างด้าวเขตสัมพันธวงศ์,ภาษีอากรคนต่างด้าวเขตสัมพันธวงศ์,หนังสือมอบอำนาจคนต่างด้าวเขตสัมพันธวงศ์
อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้าหนาแน่นและแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม
ChonlateeFBC
บริการขอใบรับรองการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว
(Foreign Business Certificate: FBC)
ส่งเสริมการลงทุนจะต้องขอใบรับรองการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว
การขอหนังสือรับรองการประกอบธุรกิจของ
คนต่างด้าว (มาตรา 12) (FBC)
ได้รับการส่งเสริมการลงทุน จากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน หรือได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากการนิคมอุตสาหกรรม
• กิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน รวมถึงขอบข่ายธุรกิจที่ระบุในเงื่อนไขเฉพาะโครงการ หรือได้รับอนุญาตจากการนิคมฯ เป็นธุรกิจตามบัญชีสองหรือบัญชีสามท้ายพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542
• หากได้รับการส่งเสริมการลงทุนในกิจการผลิตซึ่งมิได้เป็นธุรกิจที่เข้าข่ายตามบัญชีท้าย พรบ.ฯ แต่โดยข้อเท็จจริงมีการรับจ้างผลิตซึ่งเป็นการประกอบ
ธุรกิจตามบัญชีสาม (21) การทำธุรกิจบริการ นิติบุคคลนั้นที่มีสถานะเป็นคนต่างด้าวสามารถขอหนังสือรับรองการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวตามมาตรา12 นี้ได้เช่นกัน
-
การขอรับหนังสือรับรอง การประกอบธุรกิจ
คนต่างด้าวบางประเภทมีสิทธิขอหนังสือ
รับรองเพื่อประกอบธุรกิจได้โดยไม่ต้องขอใบอนุญาต ซึ่งอธิบดีจะออกหนังสือรับรองให้ภายใน 30 วัน
นับแต่วันที่แจ้ง คือ
– คนต่างด้าวที่ประกอบธุรกิจโดยสนธิสัญญาหรือความตกลงการค้าระหว่างประเทศ
ไทยกับคู่ภาคี (มาตรา 11) สามารถขอหนังสือรับรองการประกอบธุรกิจบัญชีหนึ่ง
บัญชีสอง และบัญชีสาม ได้ตามเงื่อนไขที่กําหนดในสนธิสัญญาหรือความตกลง
การค้าระหว่างประเทศไทยกับคู่ภาคี ได้แก่
๏ สนธิสัญญาทางไมตรีและความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างราชอาณาจักรไทย
กับสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2511
๏ ความตกลงการค้าเสรีไทย-ออสเตรเลีย
๏ ความตกลงหุ่นส่วนเศรษฐกิจไทย-ญี่ปุ่น ( JTEPA)
– คนต่างด้าวที่ประกอบธุรกิจโดยได้รับบัตรส่งเสริมการลงทุน สามารถขอหนังสือ
รับรองการประกอบธุรกิจบัญชีสอง และบัญชีสามได้ตามที่ระบุในบัตรส่งเสริม
การลงทุน (มาตรา 12)chonlateefbc.com
สอบถามรายละเอียด
ที่ตั้งและอาณาเขต
ตั้งอยู่ริมฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา (ฝั่งพระนคร) มีอาณาเขตติดต่อกับเขตต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย มีถนนเจริญกรุงและถนนพระรามที่ 4 เป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตบางรัก มีคลองผดุงกรุงเกษม เป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศใต้ ติดต่อกับเขตคลองสาน มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตพระนคร มีคลองรอบกรุง (คลองโอ่งอ่าง) เป็นเส้นแบ่งเขต
ประวัติศาสตร์
เขตนี้เป็นสถานที่ที่มีชาวจีนอาศัยอยู่มาตั้งแต่ตอนแรกเริ่มกรุงรัตนโกสินทร์แล้ว พวกเขาได้ย้ายมาจากเขตพระนครในปัจจุบัน โดยมีถนนวานิช 1 หรือ "ถนนสำเพ็ง" เป็นศูนย์กลางของชุมชนชาวจีน จวบจนสร้างถนนเยาวราชในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อปี พ.ศ. 2435 ได้กลายมาเป็นศูนย์กลางชาวจีนจนถึงปัจจุบัน
อำเภอสัมพันธวงศ์ สร้างที่ว่าการอำเภอขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2475 ตั้งอยู่ที่สามแยกถนนทรงวาดตัดกับถนนปทุมคงคา ตำบลศาลเจ้าแม่ทับทิม ซึ่งอยู่ในเขตวัดสัมพันธวงศาราม จึงสันนิษฐานได้ว่าอำเภอสัมพันธวงศ์คงตั้งชื่อตามวัดที่ตั้งนั่นเอง (ปัจจุบันสำนักงานเขตย้ายไปตั้งที่ถนนโยธา แขวงตลาดน้อย) โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 14 ตำบล
ต่อมาได้มีการยุบรวม "อำเภอสามแยก" ซึ่งตั้งที่ว่าการอำเภออยู่ที่ตึกแถวสี่แยกถนนทรงวาดกับถนนเยาวราช มีเขตปกครอง 6 ตำบล และ "อำเภอจักรวรรดิ" ซึ่งตั้งที่ว่าการอำเภออยู่ข้างสถานีตำรวจนครบาลจักรวรรดิ มีเขตปกครอง 18 ตำบล มาขึ้นกับอำเภอสัมพันธวงศ์ แล้วแบ่งเขตปกครองใหม่ออกเป็น 3 ตำบล คือ ตำบลสัมพันธวงศ์ ตำบลจักรวรรดิ และตำบลตลาดน้อย
ต่อมาในปี พ.ศ. 2515 มีประกาศคณะปฏิวัติจัดการบริหารราชการใหม่ในเขตนครหลวง อำเภอสัมพันธวงศ์ได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร แบ่งเขตปกครองย่อยออกเป็น 3 แขวง