ขอใบรับรองคนต่างด้าวเขตพญาไท

เขตพญาไท เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร สำนักบริหารแรงงานต่างด้าวเขตพญาไท,คนต่างด้าวเขตพญาไท,รับขึ้นทะเบียนใหม่แรงงานต่างด้าวเขตพญาไท,ขึ้นทะเบียนต่างด้าวเขตพญาไท,กิจการเกี่ยวกับแรงงานต่างด้าวเขตพญาไท,คนต่างด้าวที่ประกอบธุรกิจเขตพญาไท,ใบอนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวเขตพญาไท,รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวเขตพญาไท,ธุรกิจของคนต่างด้าวเขตพญาไท,ประสานงานหน่วยงานเอกชนเขตพญาไท,เอกสารคนต่างด้าวเขตพญาไท,จัดทำเอกสารคนต่างด้าวเขตพญาไท,การลงทุนคนต่างด้าวเขตพญาไท,ภาษีอากรคนต่างด้าวเขตพญาไท,หนังสือมอบอำนาจคนต่างด้าวเขตพญาไท

อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก

ChonlateeFBC

บริการขอใบรับรองการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว
(Foreign Business Certificate: FBC)


ส่งเสริมการลงทุนจะต้องขอใบรับรองการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว

การขอหนังสือรับรองการประกอบธุรกิจของ
คนต่างด้าว (มาตรา 12) (FBC)


ได้รับการส่งเสริมการลงทุน จากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน หรือได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากการนิคมอุตสาหกรรม
• กิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน รวมถึงขอบข่ายธุรกิจที่ระบุในเงื่อนไขเฉพาะโครงการ หรือได้รับอนุญาตจากการนิคมฯ เป็นธุรกิจตามบัญชีสองหรือบัญชีสามท้ายพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542
• หากได้รับการส่งเสริมการลงทุนในกิจการผลิตซึ่งมิได้เป็นธุรกิจที่เข้าข่ายตามบัญชีท้าย พรบ.ฯ แต่โดยข้อเท็จจริงมีการรับจ้างผลิตซึ่งเป็นการประกอบ
ธุรกิจตามบัญชีสาม (21) การทำธุรกิจบริการ นิติบุคคลนั้นที่มีสถานะเป็นคนต่างด้าวสามารถขอหนังสือรับรองการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวตามมาตรา12 นี้ได้เช่นกัน

สอบถามรายละเอียด

ที่ตั้งและอาณาเขต
เขตพญาไทตั้งอยู่ทางฝั่งพระนคร มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้

ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตบางซื่อและเขตจตุจักร มีคลองบางซื่อเป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตดินแดง มีถนนวิภาวดีรังสิตฟากตะวันออกเป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศใต้ ติดต่อกับเขตดินแดงและเขตราชเทวี มีถนนดินแดงฟากใต้และคลองสามเสนเป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตดุสิต มีทางรถไฟสายเหนือเป็นเส้นแบ่งเขต

ประวัติ
อำเภอพญาไท ได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2509[2] ตั้งชื่อตามพระราชวังพญาไทซึ่งเป็นวังที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเป็นตำหนักสำหรับเสด็จประพาสบนที่ดินริมคลองสามเสน ทุ่งพญาไท ช่วงแรกอำเภอพญาไทแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 7 ตำบล เป็นพื้นที่อำเภอดุสิตเดิม 5 ตำบล ได้แก่ ตำบลทุ่งพญาไท ตำบลถนนพญาไท ตำบลถนนเพชรบุรี ตำบลมักกะสัน และตำบลสามเสนใน และเป็นพื้นที่อำเภอบางกะปิเดิม 2 ตำบล ได้แก่ ตำบลห้วยขวางและตำบลบางกะปิ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2514 จังหวัดพระนครถูกรวมเข้ากับจังหวัดธนบุรี เปลี่ยนฐานะเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรี และในปี พ.ศ. 2515 จึงเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นกรุงเทพมหานคร ซึ่งเปลี่ยนคำเรียกเขตการปกครองใหม่ด้วย อำเภอพญาไทได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เขตพญาไท ส่วนตำบลต่าง ๆ ก็เปลี่ยนฐานะเป็นแขวง

จากนั้นทางราชการได้เปลี่ยนแปลงพื้นที่ปกครองของเขตพญาไทหลายครั้ง เพื่อจัดขนาดพื้นที่และจำนวนประชากรของแต่ละเขตให้มีความสมดุล เริ่มตั้งแต่ในปี พ.ศ. 2516 แขวงห้วยขวางและแขวงบางกะปิได้รับการยกฐานะเป็นเขตห้วยขวาง ต่อมาในปี พ.ศ. 2521 แขวงดินแดงและบางส่วนของแขวงสามเสนในถูกโอนไปขึ้นกับเขตห้วยขวาง ในขณะที่พื้นที่บางส่วนของแขวงห้วยขวางและแขวงบางกะปิก็ถูกโอนมารวมกับแขวงสามเสนในและแขวงมักกะสัน ในปี พ.ศ. 2532 พื้นที่ 4 แขวงทางทิศใต้ของเขตได้ถูกแยกออกไปตั้งเป็นเขตราชเทวี[8] การปรับปรุงเขตปกครองครั้งนี้ส่งผลให้เขตพญาไทเหลือแขวงสามเสนในอยู่เพียงแขวงเดียว ส่วนพระราชวังพญาไทซึ่งเป็นที่มาของชื่อเขต รวมทั้งถนนพญาไทก็ไม่ได้อยู่ในพื้นที่ของเขตอีกต่อไป แต่ไปอยู่ในเขตราชเทวีแทน และสุดท้ายในปี พ.ศ. 2537 พื้นที่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเขตก็ถูกแยกไปรวมกับเขตดินแดงที่เพิ่งตั้งขึ้นใหม่